วันศุกร์ที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2557

Adjective & Adverb & Tense





                                                                Adjective
          
                  Adjective คือ คำคุณศัพท์ขยายนาม มีดังนิ้
1.
Descriptive Adjective   บอกลักษณะคุณภาพของคน สัตว์และสิ่งของเช่น young,  rich, new,  god, black, clever, happy
2. Possessive Adjective  แสดงความเป็นเจ้าของเช่น my, your, his, her, their, our, its
3. Quantitativt Adjective  บอกปริมาณมาก้อยของนามที่นับไม่ได้ เช่น some, half, little
4. Numeral Adjective      แสดงจำนวนมากน้อย ของนามที่นับได้หรือแสดงลำดับของคำนามเช่น two, first,  many
                                        5. Demonstrative  Adjective    คุณศัพท์ที่ชี้เฉพาะคำนาม เช่น this, that, these, those
6. Interrogative Adjective  คือคำคุณศัพท์ที่แสดงคำถาม เช่น which, whose, what เป็นต้น   จะวางอยู่หน้าประโยคคำถาม ตัวอย่างเช่น
                                       - Which way shall we go ?
                                       - Whose dictionary is this ?
                                    7. Proper Adjective  คือคำคุณศัพท์ที่มาจากคำนามที่เป็นชื่อเฉพาะ เช่น ชื่อประเทศ ทำหน้าที่ ขยายคำนามซึ่งมีความหมายว่า เป็นของ หรือจากประเทศนั้นๆ ตัวอย่างเช่น Which way shall we go?                            
8. Distributive Adjective   แสดงการแบ่งแยกหรือจำแนก  เช่น each, every, either, neither

 
ตำแหน่งของคุณศัพท์  ( Position of  Adjective )

1. วางไว้หน้าคำนาม  adjective นั้น ทำหน้าที่ขยายตัวอย่าง เช่น
            * Peter wears a black suit.
            * Tom is a good guy.
2. วางไว้หลัง Verb to be และ Linking Verbs ตัวอย่าง เช่น
            * The traffic is terrible at 5 o’clock on Friday.
            * He felt tired.
หมายเหตุ
            Linking Verb คือคำกริยาที่เชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง subject กับ adjective ที่ตามมา ยกตัวอย่างเช่น taste , smell , turn , keep , feel , appear , grow , get , become , go , look , seem , sound เป็นต้น ตัวอย่างเช่น
            * The soup tastes good.
            * The rose smells sweet.
            * Uncle’s hair turns grey.

          Adjective ต่อไปนี้วางไว้หน้าคำนามเท่านั้น (ห้ามวางไว้หลัง Verb to be และ Linking Verbs) เช่น
            main (สำคัญ)                only (เพียง)
            upper (ข้างบน)             former (แต่ก่อน)
            chief (สำคัญที่สุด)         inner (ภายใน)
            outer (ภายนอก)            principal (หลักสำคัญ)
            indoor (ในร่ม)                outdoor (กลางแจ้ง)
            elder (สูงกว่า)                eldest (สูงวัยที่สุด)
            drunken (ขี้เมา)             wooden (ทำด้วยไม้)
            golden (ทำด้วยทอง)
           
                                                                   
Adverb

 Adverbs (คำกริยาวิเศษณ์) คือ คำที่ใช้ขยายคำกริยา (verb) , ขยายคุณศัพท์ (adjective) และขยายคำกริยาวิเศษณ์ (adverb)
หน้าที่ของ
Adverb
1. ขยายคำกริยา (verbs) เช่น  She walks clumsily. (เธอเดินงุ่มงาม)
 2. ขยายคำคุณศัพท์ (adjective) เช่น She is very cute.
3. ขยายคำกริยาวิเศษณ์ (adverbs) เช่น  That dog runs very quickly.

ประเภทของ Adverb

1. Adverb of Manner เป็น adverb ที่บอกอาการหรือลักษณะการกระทำ ใช้ตอบคำถามที่ขึ้นต้นด้วย How? เช่น hard = หนัก , fast = อย่างเร็ว , happily  = อย่างมีความสุข  เป็นต้น
          ตำแหน่งอยู่ในประโยคคือ 1. หลังคำกริยา เช่น I run quickly.
          หลังกรรมตรง  เช่น  She looks at me angrily.
               * หมายเหตุที่มาของ  Adverb of Manner
                                -- ได้จากการเติม -ly ข้างท้าย adjective ถ้า adjective ลงท้ายด้วย y หน้า y ไม่ใช่ a , e , o , u ให้เปลี่ยน y เป็น i แล้วจึงเติม -ly
                                -- good เปลี่ยนเป็น well
                                -- บางคำที่เป็นได้ทั้ง adjective และ adverb เช่น hard , fast  , late , early
2. Adverb of Degree บอกระดับความเข้ม-hน เช่น very = มาก  , quite = ทีเดียว , rather = ค่อนข้าง , almost = เกือบจะ , extremely = อย่างยิ่ง , too = มากไป
           ตำแหน่งในประโยค
                                 1. ไว้หน้าคำคุณศัพท์  เช่น It's very loud. 
                                 2. ไว้หน้า adverb เช่น She sings very sweetly.
3.  Adverb of Place บอกสถานที่ เช่น up , down , here , there
          ตัวอย่างประโยค   --   Jim came here yesterday.   ,   We have to go there. (อยู่หลังคำกริยา)
                                       --   Please bring then inside.
 4. Adverb of Frequency ใช้ขยายคำกริยา เพื่อบอกถึงความถี่ของการกระทำ และจะวางไว้หน้าคำกริยานั้นๆด้วย ยกเว้น sometimes อยู่ ต้นประโยคก็ได้
เช่น
        always    สม่ำเสมอ            usually    เป็นประจำ      often
บ่อยๆ      
             sometimes    บางครั้งบางคราว   seldom    นานๆครั้ง     never     ไม่เคย
Examples:    Sandy always goes to school early.
                            Mary usually cooks dinner.
                            We often drink milk.
                            I never go to London.
                            Sometimes I eat pizza for lunch.
           5. Adverb of time บอกเวลา ตอบคำถาม When เช่น Tonight (คืนนี้) , during winter (ระหว่างฤดูหนาว) , early (แต่เช้าตรู) , tomorrow (พรุ่งนี้) ,  yesterday (เมื่อวานนี้) , soon (ในไม่ช้า)
              ตำแหน่งในประโยค --   ไว้ท้ายประโยค I will go to London next week.
                                             
--    วางไว้ต้นประโยค เมื่อต้องการเน้น เช่น Tomorrow I will fly to Italy.

การเรียงลำดับ Adverb หลายคำในประโยค

1. คำกริยาทั่วไป ให้เรียงลำดับดังนี้ เช่น
He worked carefully in the office every day last year.     
2. กริยาที่แสดงความเคลื่อนไหว เช่น My sun sometimes went go to school by bike last month.






                   
                                                         Tense

           Tense   คือรูปแบบ(หรือโครงสร้าง)ของกริยา  ที่แสดงให้เราทราบว่า  การกระทำหรือเหตุการณ์ นั้นๆเกิดขึ้นเมื่อใด   ซึ่งเรื่อง  Tense  นี้เป็นเรื่องสำคัญ  ถ้าเราใช้    Tense  ไม่ถูก  เราก็จะสื่อภาษากับเขา ไม่ได้  เพราะในประโยคภาษาอังกฤษนั้นจะอยู่ในรูปของTense  เสมอ  ซึ่งต่างกับภาษาไทยที่เราจะมีข้อความบอกว่าเกิดขึ้นเมื่อใดมาช่วยเสมอ   แต่ภาษาอังกฤษจะใช้รูป  Tense  นี้มาเป็นตัวบอก  ดังนี้การศึกษาเรื่อง  Tense  จึงเป็นเรื่องจำ เป็น

Tense  ในภาษาอังกฤษนี้จะแบ่ง ออกเป็น  3  tense  ใหญ่ๆคือ

              
               1.     Present   tense        ปัจจุบัน

               2.     Past   tense              อดีตกาล
               3.     Future   tense          อนาคตกาล
ในแต่ละ  tense ยังแยกย่อยได้  tense  ละ  4  คือ
              1 .   Simple   tense    ธรรมดา (ง่ายๆตรงๆไม่ซับซ้อน)
              2.    Continuous  tense    กำลังกระทำอยู่ (กำลังเกิดอยู่)
              3.     Perfect  tense     สมบูรณ์ (ทำเรียบร้อยแล้ว)
              4.     Perfect  continuous  tense  สมบูรณ์กำลังกระทำ(ทำเรียบร้อยแล้วและกำลัง ดำเนินอยู่ด้วย)

โครงสร้างของ
  Tense  ทั้ง  12  มีดังนี้

Present  Tense
                     
                      [1.1]   S  +  Verb  1  +  ……(บอกความจริงที่เกิดขึ้นง่ายๆ ตรงๆไม่ซับซ้อน)

[Present]       [1.2]   S  +  is, am, are  +  Verb  1  ing   +  …(บอกว่าเดี๋ยวนี้กำลังเกิดอะไร อยู่)
                      [1.3]   S  +  has, have  +  Verb  3 +  ….(บอกว่าได้ทำมาแล้วจนถึง ปัจจุบัน)
                      [1.4]   S  +  has, have  +  been  +  Verb 1 ing  + …(บอกว่าได้ทำมาแล้วและกำลังทำ ต่อไปอีก)

Past Tense


                      [2.1]  S  +  Verb 2  +  …..(บอกเรื่องที่เคยเกิดมาแล้วใน อดีต)
[Past]            [2.2]  S  +  was, were  +  Verb 1  +…(บอกเรื่องที่กำลังทำอยู่ในอดีต)
                      [2.3]  S  +  had  +  verb 3  +  …(บอกเรื่อที่ทำมาแล้วในอดีตใน ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง)
                      [2.4]  S  +  had  +  been  +  verb 1 ing  + …(บอกเรื่องที่ทำมาแล้วอย่างต่อ เนื่องไม่หยุด)

Future Tense


                      [3.1]  S  +  will, shall  +  verb 1  +….(บอก เรื่องที่จะเกิดขึ้นในอนาคต).
[Future]        [3.2]  S  +  will, shall  +  be  +  Verb 1 ing  + ….(บอกว่าอนาคตนั้นๆกำลังทำอะไร อยู่)
                      [3.3]  S  +  will,s hall  +  have  +  Verb 3  +…(บอกเรื่องที่จะเกิดหรือสำเร็จ ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง)
                      [3.4]  S  +  will,shall  +  have  +  been  + verb 1 ing  +.. ..(บอกเรื่องที่จะทำอย่างต่อเนื่องในเวลาใด -  เวลาหนึ่งในอนาคตและ จะทำต่อไปเรื่อยข้างหน้า)
                                                                    
หลักการใช้แต่ละ  tense  มีดังนี้

  [1.1]   Present  simple  tense    เช่น    He  walks.   เขาเดิน
1.    ใช้กับ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามความจริงของธรรมชาติ และคำสุภาษิตคำ พังเพย    
2.    ใช้กับเหตุการณ์ที่เป็นความจริงในขณะที่พูด  (ก่อนหรือหลังจะไม่จริงก็ตาม)
3.    ใช้กับกริยาที่ทำนานไม่ได้   เช่น  รักเข้าใจ, รู้  เป็นต้น
4.    ใช้กับการกระทำที่คิดว่าจะเกหิดขึ้นในอนาคตอันใกล้(จะมีคำวิเศษณ์บอกอนาคตร่วมด้วย)
5.    ใช้ในการเล่าสรุปเรื่องต่างๆในอดีต  เช่นนิยาย นิทาน
6.    ใช้ในประโยคเงื่อนไขในอนาคต    ที่ต้นประโยคจะขึ้นต้น ด้วยคำว่า    If    (ถ้า),       unless   (เว้นเสียแต่ว่า),    as  soon  as  (เมื่อ,ขณะที่),    till  (จนกระทั่ง) ,   whenever   (เมื่อไรก็ ตาม),    while  (ขณะที่)   เป็นต้น
7.    ใช้กับเรื่องที่กระทำอย่างสม่ำเสมอ  และมีคำวิเศษณ์บอกเวลาที่สม่ำเสมอร่วมอยู่ด้วย  เช่น  always (เสมอๆ),  often   (บ่อยๆ),    every  day   (ทุกๆวัน)    เป็นต้น
8.    ใช้ในประโยคที่คล้อยตามที่เป็น  [1.1]  ประโยคตามต้องใช้   [1.1]  ด้วยเสมอ

 [1.2]   Present  continuous  tense   เช่น   He  is  walking.  เขากำลังเดิน

1.    ใช้ในเหตุการณ์ที่กำลังกระทำอยู่ในขณะที่พูด(ใช้  now ร่วมด้วยก็ได้ โดยใส่ไว้ต้น ประโยค, หลังกริยา หรือสุดประโยคก็ ได้)
2.    ใช้ในเหตุการณ์ที่กำลังกระทำอยู่ในระยะเวลาอันยาวนาน  เช่น  ในวันนี้ ,ในปีนี้
3.    ใช้กับเหตุการณ์ที่ผู้พูดมั่นใจว่าจะต้องเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้  เช่น เร็วๆนี้, พรุ่งนี้
*หมายเหตุ   กริยาที่ทำนานไม่ได้  เช่น  รัก ,เข้าใจ, รู้, ชอบ  จะนำมาแต่งใน  Tense  นี้ไม่ได้

[1.3] Present perfect tense เช่น He has walk เขาได้เดินแล้ว.
1.    ใช้กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วในอดีต และต่อเนื่องมาจนถึง ปัจจุบัน  และจะมีคำว่า Since  (ตั้งแต่) และ for  (เป็นเวลา) มาใช้ร่วมด้วยเสมอ
2.    ใช้กับเหตุการณ์ที่ได้เคยทำมาแล้วในอดีต (จะกี่ครั้งก็ได้ หรือจะทำอีกใน ปัจจุบัน หรือจะทำในอนาคต ก็ได้)และจะมีคำ ว่า  ever  (เคย) ,  never  (ไม่เคย) มาใช้ร่วมด้วย
3.    ใช้กับเหตุการณ์ที่จบลงแล้วแต่ผู้พูดยังประทับใจอยู่ (ถ้าไม่ประทับใจก็ใช้   Tense
4.    ใช้กับ เหตุการณ์ที่เพิ่งจบไปแล้วไม่นาน(ไม่ได้ประทับใจอยู่) ซึ่งจะมีคำเหล่านี้มาใช้ร่วมด้วยเสมอ คือ  Just   (เพิ่งจะ), already  (เรียบร้อยแล้ว), yet  (ยัง), finally  (ในที่สุด)  เป็นต้น
   
[1.4] Present  perfect  continuous  tense 
  เช่น  He  has  been  walking .  เขาได้กำลังเดินแล้ว

มีหลักการใช้เหมือน  [1.3]  ทุกประการ เพียงแต่ว่าเน้นว่าจะทำต่อไปในอนาคตด้วย    ซึ่ง [1.3] นั้นไม่เน้นว่าได้กระทำอย่างต่อเนื่องหรือไม่  ส่วน [1.4]  นี้เน้นว่ากระทำมาอย่างต่อเนื่องและจะกระทำต่อไปในอนาคตอีกด้วย

[2.1] Past  simple  tense      เช่น  He  walked.  เขาเดิน แล้ว

1.   ใช้กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและจบลงแล้วในอดีต   มิได้ต่อเนื่องมาถึงขณะ ที่พูด และมักมีคำต่อไปนี้มาร่วมด้วยเสมอในประโยค เช่น  Yesterday, year  เป็นต้น
2.    ใช้กับเหตุการณ์ที่ทำเป็นประจำในอดีตที่ผ่านมาในครั้งนั้นๆ ซึ่งต้องมีคำวิเศษณ์บอกความถี่ (เช่น Always, every  day ) กับคำวิเศษณ์ บอกเวลา (เช่น  yesterday,  last  month )  2  อย่างมาร่วมอยู่ด้วยเสมอ
3.    ใช้กับเหตุการณ์ที่ได้เคยเกิดขึ้นมาแล้วในอดีต  แต่ปัจจุบันไม่ได้เกิด อยู่ หรือไม่ได้เป็นดั่งในอดีตนั้นแล้ว  ซึ่งจะมีคำว่า  ago  นี้ร่วมอยู่ด้วย
4.      ใช้ในประโยคที่คล้อยตามที่เป็น [2.1]  ประโยคคล้อยตามก็ต้อง เป็น [2.1]  ด้วย

 [2.2]   Past continuous  tense   เช่น    He  was  walking . เขากำลังเดินแล้ว

1.     ใช้กับเหตุการณ์   2   อย่างที่เกิดขึ้นไม่พร้อมกัน  { 2.2  นี้ไม่นิยมใช้ตามลำพัง - ถ้าเกิดก่อนใช้  2.2   -  ถ้าเกิดทีหลังใช้ 2.1}
2.     ใช้กับเหตุการณ์ที่ ไดกระทำติดต่อกันตลอดเวลาที่ได้ระบุไว้ในประโยค  ซึ่งจะมีคำบอกเวลาร่วมอยู่ด้วยในประโยค  เช่น  all  day  yesterday  etc.
3.     ใช้กับเหตุการณ์  2  อย่างที่กำลังทำในเวลาเดียวกัน(ใช้เฉพาะกริยาที่ทำได้นานเท่านั้น  หากเป็นกริยาที่ทำนานไม่ได้ก็ใช้หลักข้อ 1 ) ถ้าแต่งด้วย 2.1  กับ  2.2  จะดูจืดชืดเช่น   He  was  cleaning  the  house  while  I was  cooking  breakfast.
 
[2.3]   Past  perfect  tense
    เช่น  He  had walk.  เขาได้เดินแล้ว

1.    ใช้กับ เหตุการณ์  2  อย่างที่เกิดขึ้นไม่พร้อมกันในอดีต  มีหลักการใช้ดังนี้
เกิดก่อนใช้  2.3  เกิดทีหลังใช้  2.1.
2.     ใช้กับเหตุการณ์หรือการกระทำอันเดียวก็ได้ในอดีต แต่ต้องระบุชั่วโมงและวันให้แน่ชัดไว้ในทุกประโยคด้วยทุกครั้ง  เช่น   She  had  breakfast  at  eight o’ clock  yesterday.

[2.4]   past  perfect  continuous  tense    เช่น   He  had  been  walking.

           มีหลักการใช้เหมือนกับ  2.3  ทุกกรณี  เพียงแต่  tense  นี้  ต้องการย้ำถึงความต่อเนื่องของการกระทำที่ ว่าได้กระทำต่อเนื่องไปจนถึงการกระทำที่  2  โดยมิได้หยุด  เช่น  When  we  arrive  at  the  meeting ,  the  lecturer  had  been  speaking  for  an  hour  .   เมื่อพวกเราไปถึงที่ ประชุม  ผู้บรรยายได้พูดมาแล้ว เป็นเวลาชั่วโมง

 [3.1]   Future  simple  tense      เช่น   He  will  walk.    เขาจะเดิน

              ใช้กับเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต  ซึ่งจะมีคำว่า  tomorrow,  to  night,  next  week,  next  month   เป็นต้น  มาร่วมอยู่ด้วย
           * Shall   ใช้กับ     I    we.
             Will    ใช้กับบุรุษที่  2  และนามทั่วๆไป
             Will,  shall  จะใช้สลับกันในกรณีที่จะให้คำมั่นสัญญา, ข่มขู่บังคับ, ตกลงใจแน่วแน่
             Will,  shall   ใช้กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรือจงใจก็ได้
             Be  going  to  (จะ)  ใช้กับความจงใจของมนุษย์ เท่านั้น  ห้ามใช้กับเหตุการณ์ของธรรมชาติและนิยมใช้ใน ประโยคเงื่อนไข

[3.2]    Future   continuous    tense
   
เช่น   He  will  be  walking.    เขากำลังจะ เดิน

1.     ใช้ในการบอกกล่าวว่าในอนาคตนั้นกำลังทำอะไรอยู่ (ต้องกำหนดเวลาแน่นอน ด้วยเสมอ)
2.     ใช้กับเหตุการณ์  2  อย่างที่จะเกิดขึ้นไม่พร้อมกันในอนาคต  มีกลักการใช้ดังนี้
               -   เกิดก่อนใช้    3.2      S  +  will  be,  shall  be  +  Verb 1  ing
                -  เกิดทีหลังใช้   1.1     S  +  Verb  1  

[3.3]   Future   prefect  tens
    เช่น  He  will  walked.  เขาจะได้เดินแล้ว
1.  ใช้กับเหตุการณ์ที่จะ เกิดขึ้นหรือสำเร็จลงในเวลาใดเวลาหนึ่งในอนาคต  โดยจะมีคำว่า  by  นำหน้ากลุ่มคำที่บอกเวลา ด้วย  เช่น   by  tomorrow  ,   by  next  week   เป็นต้น
2.  ใช้กับเหตุการณ์  2  อย่างที่จะเกิดขึ้นไม่พร้อมกันในอนาคต มีหลักดังนี้.
              -      เกิดก่อนใช้   3.3      S  +  will, shall  +  have  +  Verb 3
              -      เกิด ที่หลังใช้   1.1    S  +  Verb 1


[3.4]  Future  prefect  continuous  tense
เช่น He  will  have  been  walking. เขาจะได้กำลัง เดินแล้ว
          ใช้เหมือน  3.3  ต่างกันเพียงแต่ว่า  3.4  นี้เน้นถึงการกระทำที่  1  ได้ทำต่อเนื่องมาจนถึงการกระทำที่  2  และจะกระทำต่อไปในอนาคต อีกด้วย
           *   Tense  นี้ไม่ค่อยนิยมใช้บ่อย นัก  โดยเฉพาะกริยาที่ทำนาน ไม่ได้ อย่านำมาแต่งใน  Tense  นี้เด็ดขาด





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น